วันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


วันพฤหัสบดีที่22พฤศจิกายน 2555

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 เวลาเรียน 8.30-12.20 น.

     อาจารย์ให้วาดรูปสัญญาลักษณ์แล้วแล้วเขียนชื่อ แล้วให้คนที่มาก่อน 8 โมงครึ่ง ให้เอาไปติดไว้หน้ากระดานก่อน
อาจารย์สอนเรื่องการแบ่งกลุ่ม
    โดยใช้เกณฑ์เวลา จะแยกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มาก่อน 8 โมงครึ่งและหลัง 8 โมงครึ่ง
ตัวเลขคือ สัญญาลักษณ์
คนที่มาก่อน 8 โมงครึ่ง มี 8 คน
เซตคือความเชื่อมโยงกัน
ขอบข่ายของคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย (นิตยา ประฤติกิจ. 2541: 17-19)
1.การนับ (counting) มีทั้งนับเพิ่มและนับลด นับรู้ค่า นับปากเปล่า
2.ตัวเลข (number) สัญญาลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ใช้แทน       ค่าละจำนวน
3.การจับคู่ (matching) รูปทรงความเหมือนของตัวเลข มีทั้งใช่รูปทรง มีการเชื่อมโยง จำนวนกับจำนวน สัญญาลักษณ์ ทำให้รู้จำนวนคู่ จำนวนคี่
4.จัดประเภท (classifyi) ใช้เกณฑ์
5.การเปรียบเทียบ เมื่อรู้จำนวนแล้ว (comparing) เปรียบเทียบโดยการดูด้วยตา จากนั้นโดยการประมรโดยเครื่องมือไม่เป็นทางการ และเริ่มใช้เครองมือที่เป็นทางการแล้วจึงเกิดการเปรียบเทียบ
6.การจัดลำดับ
7.รูปทรงและเนื้อที่ (shape and space) มีความกว้างสูงยาว จะเกิดการบรรจุปริมาตร
8.การวัด (measurement) มีการหาพื้นที่โดยใช้เครื่องมือวัดที่ได้ค่าได้ปริมาตรได้จำนวน
9.เซต (set) จะมีความเชื่อมโยงกันในเขต
10.เศษส่วน (farction) ของเด็กใช้ในการแบ่งของจากทั้งหมด เท่าๆกัน การแบ่งครึ่งโดยใช้สิ่งของจากนั้นใช้สัญญาลักษณ์สุดท้าย
11.การทำตามแบบหรือลวดลาย (patterning)
12.การอนุลักษณ์ หรือการคงที่ด้านปริมาณ (conser vaion) การที่เด็กตอบได้ ด้วยการใช้เหตุผล



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น