วันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


วันพฤหัสบดีที่29พฤศจิกายน 2555

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 เวลาเรียน 8.30-12.20 น.

มาตรฐาน  ทำให้เกิดความเชื่อมั่นว่าเชื่อถือได้ยอมรับได้ ในชีวิตประจำวัน คือ การวัด  เกณฑ์ที่ เชื่อถือได้อาจารย์ให้นักศึกษาจับคู่เดิมที่ทำงานอาทิตย์ที่แล้ว และให้นั่งเรียงกันเป็นคู่ๆ คู่ดิฉันได้หัวข้อที่ 12      คือ การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ คือ ตัวเลข
 กลุ่มที่ 1  การนับ = การนับจำนวนสัตว์ เช่น สัตว์บก สัตว์น้ำ  ได้จากการนับ   จำนวน   ตัวเลข    การแทนค่า
กลุ่มที่ 2  ตัวเลข = ให้นับจำนวนสัตว์ว่ามีกี่ชนิด มีกี่ตัว ใช้แทนค่าให้กับลำดับที่
กลุ่มที่ 3 จับคู่ = ให้นักเรียนจับคู่สัตว์บก  สัตว์น้ำ   มีตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
กลุ่มที่ 4 การจัดประเภท = นำสัตว์บก สัตว์น้ำ มารวมกันให้เด็กแยกจำนวนสัตว์เป็น 2 กลุ่ม แล้ว         นับว่ามีกลุ่มละกี่ีตัว
กลุ่มที่ 5 การเปรียบเทียบ = แบ่งสัตว์ สัตว์น้ำ แล้วเปรียบเทียบว่าสัตว์กลุ่มไหนมากกว่ากัน
กลุ่มที่ 6 การจัดลำดับ = ลำดับจากเล็กไปใหญ่ จากเตี้ยไปสูง
กลุ่มที่ 7 รูปทรงและพื้นที่ = พื้นที่ของสัตว์
กลุ่มที่ 8 การวัด = ให้เด็กวัดคอยีราฟ วัดสิ่งต่างๆ นอกจากวัดตัวสัตว์แล้วใช้วัดอย่างอื่น เช่น วัดกรงสัตว์  วัดอาหาร
กลุ่มที่ 9 เซต = ให้จัดประเภทของสัตว์กินเนื้อ กินพืช
กลุ่มที่ 10 เศษส่วน = ให้เด็กรู้จักสัตว์ทั้งหมด เช่น สัตว์บกทั้งหมด  20 ตัว แบ่งครึ้่ง จะได้ 2 ส่วน เท่าๆกัน
กลุ่มที่ 11 การทำตามแบบหรือลวดลาย = นำสัตว์ทั้งหมดมารวมกันและให้เด็กทำตามแบบที่กำหนดไว้
กลุ่มที่ 12 ปริมาณคงที่ = นำปริมาณเท่ากันมาเทใส่แก้วทรงสูงและเตี้ยให้เด็กตอบ  การปั้นดินน้ำมันที่มีปริมาณเท่ากัน แต่ปั้นสัตว์คนละแบบ
กลุ่มที่ 13 จำนวน = ให้เด็กนับผักในตะกร้าแล้วบอกจำนวน
กลุ่มที่ 14 ตัวเลข = ให้เด็กนับผักว่ามีกี่จำนวน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น