วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556



งานกีฬาสีเอก

วันที่2 มีนาคม 2556






















วันที่1 มีนาคม 2556

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 เวลาเรียน 8.30-12.20 น.


งานวิจัยเรื่อง
ผลการใช้คำถามจำแนกที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในเด็กปฐมวัย
โรงเรียนสาธิตลอออุทิศ

โดย
นางสาว จิราภรณ์  สินธุพรม

เสนอ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ในเด็กปฐมวัย
  

      มีความจำเป็นและสำคัญอย่างยิ่งเพราะเป็นการสร้างประสบการณ์พื้นฐานในด้านความคิดที่มีเหตุผล ทักษะการแก้ปัญหาซึ่งเด็กสามารถนำไปใช้ในชีวิตทั้งปัจจุบันและอนาคตได้บุญเยี่ยม จิตรดอน ได้ให้แนวคิดว่าการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์แบ่งออกเป็น2ประเภท คือ
1.ประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้เบื้องต้นซึ่งนำไปสู่การเรียนคณิตศาสตร์ได้แก่ การเปรียบเทียบ การเรียงลำดับ การวัด การจับคู่หนึ่งต่อหนึ่ง การนับ
2.ประสบการณ์พื้นฐานในการคิดคำนวน ได้แก่การจัดหมวดหมู่ การรวมหมู่ การแยกหมู่ และสัญญาลักษณ์












วันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556


วันพฤหัสบดีทึ่14กุมภาพันธ์ 2556

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 เวลาเรียน 8.30-12.20 น.

การเรียนการสอน
-   วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษา ไปร่วมงานที่ทางมหาวิทยาลัยจัดขึ้น เป็นโครงการแก้วน้ำส่วนตัว ประมาณ 10 โมงเช้า เข้าห้องเรียน กลุ่ม3 นำเสนอแผนการสอนเเละ ปฏิบัติสอนหน้าชั้นเรียน




วันพฤหัสบดีทึ่7กุมภาพันธ์ 2556

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 เวลาเรียน 8.30-12.20 น.

การเรียนการสอน
- อาจารย์ให้เพื่อนสาธิตการสอน ... หน่วย ต้นไม้ ...

วันจันทร์  (เรื่อง ประเภท)
   -   อาจารย์ยกตัวอย่างจากสัปดาห์ที่แล้ว
   - ใช้คำถามเชิญชวน
   - แยกประเภทของต้นไม้

วันอังคาร (เรื่อง ลักษณะของต้นไม้)
   -  ถามความรู้ที่ได้จากเมื่อวาน
   - นำต้นไม้มาให้เด็กสังเกต
   - ส่งต้นไม้ให้เด็กๆดู
   -  ดูความแตกต่าง ของ ราก พื้นผิว สี เป็นต้น เขียนเป็นตาราง
   - นำเสนอเป็นวงกลม "ยูเนี่ยน"

วันพุธ (เรื่อง ส่วนประกอบ)

   - ใช้คำถาม
   - นำรูปภาพมาให้เด็กดู

วันพฤหัส (เรื่อง ประโยชน์)
   - ใช้นิทานในการสอน

วันศุกร์ (เรื่อง โทษของต้นไม้)
  - ให้รูปภาพที่ได้รับอันตรายจากต้นไม้มาให้เด็กดู
  - สามารถใช้นิทานได้

 

วันพฤหัสบดีที่31มกราคม 2556

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 เวลาเรียน 8.30-12.20 น.

การเรียนการสอน
- อาจารย์ให้เพื่อนสาธิตการสอน   " หน่วย ... ดิน "

วันจันทร์  (เรื่อง ดิน)
    1.  การนำเข้าสู่บทเรียน โดย การเปิดประเด็นคำถาม
    2.  เขียน "เป็นคำ" เพื่อให้มีประสบการณ์
    3.  ควรเขียนให้อยู่บรรทัดเดียวกับ 10 คำ (ฐานสิบ)
    4. ไม่ควรขัดความคิดของเด็ก
    5. .ใส่ตัวเลขกำกับ
    6. แยกประเภท (นับทั้งหมด) เริ่มจากด้ายซ้าย -> ขวา
    7. เปรียบเทียบ 1:1 (เพื่อให้เด็กเห็นการเปรียบเทียบอย่างชัดเจน)

วันอังคาร (เรื่อง ลักษณะของดิน)
    1. ทบทวนเรื่องของเมื่อวาน
    2. ใช้คำถามเชิญชวน และสอนต่อ
    3. ใช้วิธีเขียนตารางสรุป  -> สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น

วันพุธ (เรื่อง ในดิน)
    1. ทบทวนเรื่องเดิม
    2. คำถาม "ในดินมีอะไรบ้าง?"
    3. พาไปสังเกตข้างนอก
    4. ครูเตรียมสิ่งของมาแทนการเขียน เช่น เปลือกหอย, กิ่งไม้, ก้อนหิน
    5. สอนเรื่องการหาร

วันพฤหัสบดี (เรื่อง ประโยชน์ของดิน)
    1.ทบทวน
    2. ประโยชน์ของดิน (ให้เล่านิทาน หรือ เพลง )

วันศุกร์ (เรื่อง ข้อควรระวัง)
    1. ทบทวนสิ่งที่อยู่ในดิน
    2.  ข้อควรระวัง (ใช้นิทาน)




วันพฤหัสบดีที่24มกราคม 2556

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 เวลาเรียน 8.30-12.20 น.
 การเรียนการสอน 
มาตรฐานการเรียนรู้  ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ปฐมวัย
    สาระที่ 1  จำนวนและการดำเนินการ
    สาระที่ 2  การวัด
    สาระที่ 3  เรขาคณิต
    สาระที่ 4  พีชคณิต
    สาระที่ 5  การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
    สาระที่ 6  ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์




วันพฤหัสบดีที่17มกราคม 2556

วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 เวลาเรียน 8.30-12.20 น.

   วันนี้อาจารย์ได้พูดถึงหลักการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยจะต้องคำนึงถึงประสบการณ์ที่สำคัญกับเด็กดังนี้
ในการจัดประสบการณ์ต้องให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5ในการเรียนรู้จากการลงมือกระทำในการจัดประสบการณ์ต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้เด็กอย่างมีอิสระ
ในการจัดประสบการณ์ต้องเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวเด็กเช่น กิจวัตรประจำวัน หรือสิ่งที่อยู่ในห้องเรียน และที่สำคัญต้องมีสาระสำคัญและประสบการณ์สำคัญที่ปรากฎอยู่ในหลักสูตรมาจัดเป็นกิจกรรมบูรณาการในการเรียนการสอน เช่น                                                                                    
หน่วยผลไม้
    ผลไม้ที่อยู่ในตะกร้าทั้งสองตะกร้าแต่ละตะกร้าจะมีผลไม้ที่ทานได้ทั้งเปลือกและต้องปลอกเปลือกก่อนทานในเรื่องนี้ก็สามารถที่จะบูรณาการในการสอนทางคณิตศาสตร์ได้ในเรื่องของการแยกแยะการเปรียบเทียบผลไม้ที่ทานได้ทั้งเปลือกและต้องปลอกเปลือกก่อนทานว่ามีจำนวนเท่าไรจะทำให้รู้ค่าและก็มีการกำกับเป็นตัวเลขทางคณิตศาสตร์เป็นต้น
อาจารย์ทบทวนมาตรฐานการเรียนรู้ของสสวท.มีดังนี้
1.จำนวนและการดำเนินการ
2. การวัด
3.เรขาคณิต
4.พืชคณิต
5.การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
6.ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์